วันอาทิตย์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2559

แจกข้อสอบ

ข้อสอบกรมชลประทาน

1.กรมชลประทานมีอายุครบรอบกี่ปี ในปี 2557
ก. 110 ปี
ข. 111 ปี
ค. 112 ปี*
ง. 113 ปี
 2.การสถาปนาเป็นกรมชลประทานเกิดขึ้นในรัชกาลที่เท่าใด
ก. รัชกาลที่ 4
ข. รัชกาลที่ 5
ค. รัชกาลที่ 6*
ง. รัชกาลที่ 7

3.PMQA คืออะไร
ก. รางวัลเมขลา
ข.รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ*
ค.รางวัลการบริหารดีเด่นแห่งเอเชีย
ง.รางวัลความเป้นเลิศ

4.water for all หมายถึง
ก.น้ำเพื่อสรรพสิ่ง*
ข.น้ำเพื่อชีวิต
ค.น้ำเพื่อโลก
ง.น้ำเพื่อประชาชน

5.สายด่วนกรมชลประทานคือหมายเลขใด
ก. 1456
ข. 1406
ค. 1560
ง. 1460*

6.กรมชลประทานมีชื่อภาษาอังกฤษว่าอย่างไร
ก. Waterworks Authority
ข.Royallrrigation Department*
ค. Department Thailand
ง. Authority Meteorological

7.ข้อใด ไม่ใช่ ประด็นยุทธศาสตร์ของกรมชลประทาน
ก. การพัฒนาแหล่งน้ำและเพิ่มพื้นที่ชลประทาน
ข.การพัฒนาแหล่งเพาะปลูก*
ค.การบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการ
ง.การป้องกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ำตามภารกิจ

8.ประเทศไทยมีลุ่มน้ำหลักกี่ลุ่มน้ำ
ก. 25 ลุ่มน้ำ*
ข. 30 ลุ่มน้ำ
ค. 15 ลุ่มน้ำ
ง. 20 ลุ่มน้ำ

9.เขื่อนใดเป็นต้นแบบแห่งการจัดการน้ำ
ก. เขื่อนพระรามหก
ข.เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์*
ค.เขื่อนเจ้าพระยา
ง.เขื่อนชัยนาท

10.เขื่อนใดที่เป็นเขื่อนทดน้ำหรือระบายน้ำขนาดใหญ่
ก. เขื่อนพระรามหก
ข. เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
ค.เขื่อนเจ้าพระยา *
ง. เขื่อนชัยนาท


1. ใครเป็นผู้วางระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526
- คณะรัฐมนตรี

2. ข้อความใดเป็นความหมายของงานสารบรรณตามระเบียบนี้
-การเก็บรักษา , การรับ-การส่ง, การจัดทำ,การยืม,การทำลาย

3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณที่ถือปฏิบัติในขณะนี้เป็นฉบับ พ.ศ.ใด
- พ.ศ. 2526

4. หนังสือราชการ คือ
- เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ

5. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ แบ่งเป็นกี่ประเภท
- 3 ประเภท (ด่วน,ด่วนมาก,ด่วนที่สุด)

6. ส่วนราชการใดมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่กำหนดไว้ในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ให้ขอทำความตกลงกับใคร
- ปลัดสำนักนกยกรัฐมนตรี

7. หนังสือราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ มีกี่ชนิด
- 6 ชนิด

8. หนังสือราชการคือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการมีกี่ประเภท
- 6 ประเภท

9. ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรีคำขึ้นต้นใช้คำว่าอะไร
- เรียน (คำลงท้าย..ขอแสดงความนับถือ)

10. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 ให้ใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด
- วันที่ 24 กันยายน 2548

11. หนังสือที่ติดต่อราชการเป็นแบบพิธีได้แก่หนังสือชนิดใด
- หนังสือภายนอก

12. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ใช้บังคับแล้ว ให้ยกเลิกฉบับใดบ้าง
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2506
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ พ.ศ. 2507
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2516

13. งานสารบรรณมีความหมายตรงกับอะไร
- งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลาย

14. “หนังสือ” ตามระเบียบนี้ หมายความว่าอะไร
- หนังสือราชการ

15. หนังสือประทับตราใช้สำหรับเรื่องใด
- การเตือนเรื่องที่ค้าง
- การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
- การแจ้งผลงานให้ผุ้เกี่ยวข้องทราบ

16. เจ้าของเรื่องจะเก็บหนังสือประเภทใดได้บ้าง
- เจ้าของเรื่องสามารถเก็บหนังสือทั้งที่เป็นต้นฉบับและสำเนาซึ่งเป็นหนังสือที่อยู่ในระหว่างปฏิบัติและหนังสือที่ปฏิบัติการเสร็จแล้วแต่ต้องเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ

17. การทำสำเนาในระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ประกอบด้วยอะไรบ้าง
- สำเนาคู่ฉบับ หนังสือราชการเป็นหลักฐานที่สำคัญในราชการระเบียบงานสารบรรณจึงบังคับให้มีสำเนาคู่ฉบับไว้อย่างน้อย 1 ฉบับ
- การทำสำเนา กระทำได้หลายวิธี เช่น ถ่าย อัด คัด เป็นต้น
- เอกสารทางราชการจำเป็นต้องมีสำเนาซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องส่งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบหลายคน

18. ผู้ที่จะทำงานสารบรรณได้ดีจำเป็นต้องรู้งานด้านธุรการในลักษณะใดบ้าง
- มีความรู้ด้านภาษาเป็นอย่างดี
- มีการติดต่อ โต้ตอบและประสานงานที่ดี
- รู้จักกาลเทศะ ความควรไม่ควร

19. หนังสือสั่งการ มีกี่ชนิด

- 3 ชนิด ได้แก่ คำสั่ง, ระเบียบ, ข้อบังคับ

20. หนังสือประชาสัมพันธ์มีกี่ชนิด

-  3 ชนิด ได้แก่ ประกาศ, แถลงการณ์, ข่าว

21. หนังสือรับรองรายงานการประชุมและหนังสืออื่นจัดอยู่ในหนังสือชนิดใด
- หนังสือที่เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ

22. การอ้างหนังสือที่มีทั้งชั้นความเร็วและชั้นความลับนั้น ข้อปฏิบัติที่ถูกต้องคือ
- อ้างชั้นความลับก่อนชั้นความเร็ว

23. หนังสือราชการที่จัดทำขึ้นให้มีสำเนาคู่ฉบับไว้อย่างน้อยกี่ฉบับ
- 1 ฉบับ

24. “อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า
- การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอนไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน
- การประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทางแม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่างๆเช่นว่านั้น

25. หนังสือประทับตราคือ
- หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป โดยให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกองหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป เป็นผู้รับผิดชอบลงชื่อย่อกำกับตรา

26. หนังสือประทับตราให้ใช้ได้ทั้งระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการ และระหว่างส่วนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไม่ใช่เรื่องสำคัญ ได้แก่
- การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
- การส่งสำเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร
- การตอบรับทราบที่ไม่เกี่ยวกับราชการสำคัญหรือการเงิน
- การแจ้งผลงานที่ได้ดำเนินการไปแล้วให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบ
- การเตือนเรื่องที่ค้าง
- เรื่องซึ่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไปกำหนด โดยทำเป็นคำสั่ง ให้ใช้หนังสือประทับตรา

27.  ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการเก็บหนังสือสำรวจหนังสือที่มีอายุครบการเก็บในปีนั้น และทำบัญชีหนังสือขอทำลายเสนอหัวหน้าส่วนราชการ ภายในกี่วัน
- 60 วัน หลังจากวันสิ้นปีปฏิทินนั้น

28. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ เป็นหนังสือที่ต้องจัดส่งและดำเนินการทางสารบรรณด้วยความรวดเร็วเป็นพิเศษ แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง

-  3 ประเภท ได้แก่ - ด่วนที่สุด (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติในทันทีที่ได้รับหนังสือนั้น)

   - ด่วนมาก (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็ว

  - ด่วน (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติ เท่าที่จะทำได้)

29. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ ต้องระบุชั้นความเร็ว และขนาดตัวอักษร อย่างไร
- ให้ระบุชั้นความเร็วด้วยตัวอักษรสีแดง ขนาดไม่เล็กกว่าตัวพิมพ์โป้ง 32 พอยท์ ให้เห็นได้ชัดบนหนังสือและบนซอง

30. กรณีต้องการให้หนังสือส่งถึงผู้รับภายในเวลาที่กำหนด ควรระบุอะไรบ้าง
- ระบุคำว่า “ด่วนภายใน” แล้วลง วัน เดือน ปี และกำหนดเวลาที่ต้องการให้หนังสือนั้นไปถึงผู้รับ กับให้เจ้าหน้าที่ส่งถึงผู้รับซึ่งระบุบนหน้าซองภายในเวลาที่กำหนด

31. “ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า
- การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์

32. หนังสือที่ใช้ติดต่อราชการระหว่างส่วนราชการหรือส่วนราชการกับบุคคลภายนอกคือหนังสือใด
- หนือสือภายนอก
-หนังสือประทับตรา

33. ผู้มีอำนาจให้บุคคลภายนอกยืมหนังสือคือใคร
- กระทำมิได้

34. ผู้มีอำนาจให้บุคคลภายนอกดูหรือคัดลอกหนังสือ คือใคร
- หัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป หรือผู้ทีได้รับมอบหมาย

35. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ใช้บังคับแก่ใคร
- ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ ( ส่วนราชการใดมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่ได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้ขอทำความตกลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้)

36. ส่วนราชการ หมายความว่าอย่างไร
- กระทรวง ทบวง กรม สำนักงาน หรือหน่วยงานใดของรัฐ ทั้งในบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือในต่างประเทศ และให้หมายความถึงคณะกรรมการด้วย

37. คณะกรรมการ หมายความว่าอย่างไร
- คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใดๆ และให้หมายรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน หรือคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน

38. คณะกรรมการดำเนินการทำลายหนังสือประกอบด้วยบุคคลอย่างน้อยกี่คน
- 3 คน (ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอีกอย่างน้อย 2 คน)

39. คณะกรรมการทำลายหนังสือ โดยปกติให้แต่งตั้งจากข้าราชการตั้งแต่ระดับใด
- ระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป

40. ใครเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือ

- หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม
แนวข้อสอบตำวรวจสายอำนวยการ สำหรับผู้หญิง ปี 2558

1. ข้อใดต่อไปนี้ที่ไม่อยู่ในแบบหนังสือภายใน 
 ก. อ้างถึง ข. สิ่งที่ส่งมาด้วย 
 ค. คำลงท้าย ง. ทุกข้อไม่อยู่ในแบบ 
 ตอบ ง. 
2. โดยปกติถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับกรมขึ้นไป ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องในระดับใด 
 ก. กองและแผนก ข. กรมและแผนก 
 ค. กรมและหน่วยงาน ง. กรมและกอง 
 ตอบ ง. 
3. ถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับต่ำกว่ากรมลงมาให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องเพียงระดับใด 
 ก. กอง ข. กรม 
 ค. แผนก ง. กระทรวง 
 ตอบ ก. 
4. ข้อใดต่อไปนี้เป็นหนังสือที่อยู่ในส่วนที่ 2 ของงานสารบรรณฯ 
 ก. หนังสือภายนอก 
 ข. หนังสือภายใน 
 ค. หนังสือราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยกว่าหนังสือภายนอก 
 ง. ถูกทั้งข้อ ข. และ ค. 
 ตอบ ข. 
5. หนังสือรับรองเป็นเรื่องสำคัญที่ออกให้แก่บุคคลให้ติดรูปถ่ายของผู้ที่ได้รับการรับรอง มีขนาดเท่าไร 
 ก. 2 ´ 3 ซ.ม. ข. 4 ´ 6 ซ.ม. 
 ค. 5 ´ 9 ซ.ม. ง. 6 ´ 9 ซ.ม. 
 ตอบ ข. 
6. หนังสือเวียนคือหนังสือที่มาถึงผู้รับจำนวนมากมีข้อความอย่างเดียวกันให้เพิ่มเติมรหัสพยัญชนะตัว ว ไว้ที่ใด 
 ก. มุมของด้านขวา ข. หน้าเลขทะเบียนหนังสือส่ง 
 ค. บริเวณใดก็ได้ ขอให้ผู้รับเห็นชัดเจน ง. หลังเลขทะเบียนหนังสือส่ง 
 ตอบ ข. 
7. มท. เป็นรหัสพยัญชนะประจำกระทรวงที่มีหน้าที่หลักในเรื่องใด 
 ก. ดูแลความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ 
 ข. ป้องกันการรุกรานจากต่างประเทศ 
 ค. การคมนาคมทั้งทางบก-เรือ และอากาศ 
 ง. การแพทย์-พยาบาล และสุขภาพอนามัยของประชาชน 
 ตอบ  ก. 
8. กห. เป็นรหัสตัวพยัญชนะประจำกระทรวงที่มีหน้าที่หลักในเรื่องใด 
 ก. ป้องกันการรุกรานจากต่างประเทศ 
 ข. ให้การศึกษาแก่ประชาชนในชาติระดับอุดมศึกษา 
 ค. ให้ความเป็นธรรมและยุติธรรม 
 ง. การแพทย์-พยาบาล และสุขภาพอนามัยของประชาชน 
 ตอบ ก. 
9. รย. เป็นรหัสพยัญชนะประจำจังหวัดซึ่งอยู่ทางภาคไหนของประเทศไทย 
 ก. ภาคเหนือ ข. ภาคกลาง 
 ค. ภาคตะวันออก ง. ภาคใต้ 
 ตอบ ค. 
10. ภก. เป็นรหัสพยัญชนะประจำจังหวัดซึ่งอยู่ทางไหนของประเทศไทย 
 ก. ภาคเหนือ ข. ภาคกลาง 
 ค. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ง. ภาคใต้ 
 ตอบ ง. 
11. ชม. เป็นรหัสพยัญชนะประจำจังหวัดซึ่งอยู่ทางไหนของประเทศไทย 
 ก. ภาคเหนือ ข. ภาคกลาง 
 ค. ภาคใต้ ง. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 
 ตอบ ก. 
12. หนังสือราชการถึงประธานสภาผู้แทนราษฎร ใช้คำขึ้นต้นว่าอย่างไร 
 ก. ถึง ข. เรียน 
 ค. กราบเรียน ง. ขึ้นต้นตามข้อใดก็ได้ 
  ตอบ ค. 
13. หนังสือราชการถึงสมเด็จพระสังฆราชเจ้า ใช้คำขึ้นต้นว่าอย่างไร 
 ก. ทูล ข. กราบทูล 
 ค. นมัสการ ง. ขอประทานกราบทูล 
 ตอบ ง. 
14. หนังสือราชการถึงบุคคลธรรมดาใช้สรรพนามอย่างไร 
 ก. ข้าพเจ้า ข. กระผม ผม 
 ค. ดิฉัน ท่าน ง. ถูกทุกข้อ 
 ตอบ ง. 
15. หนังสือที่ใช้สำหรับยืนยันข้อความในเรื่องที่ได้สนทนา คือหนังสือชนิดใด 
 ก. บันทึก (Memorandum) ข. บันทึกช่วยจำ (Aide Memories) 
 ค. หนังสือกลาง (Note Verbal) ง. ไม่มีข้อใดถูก 
 ตอบ ข. 
16. หนังสือราชการภาษาอังกฤษที่ลงชื่อ คือหนังสือตามข้อใด 
 ก. หนังสือราชการที่เป็นพิธี (First Person Formal Note) 
 ข. หนังสือราชการที่ไม่เป็นแบบพิธี (First Person Informal Note) 
 ค. หนังสือกลาง (Third Person Note หรือ Note Verbal)
 ง. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
 ตอบ ง. 
17. งานสารบรรณ คือข้อใดต่อไปนี้ 
 ก. งานที่ว่าด้วยหนังสือ ข. งานที่ว่าด้วยการเก็บหลักฐาน 
 ค. งานที่ว่าด้วยการรับส่งหนังสือ ง. งานที่หน่วยงานราชการจำเป็นต้องมีขึ้น 
  ตอบ ก. 
18. หนังสือราชการมี 
 ก. 4 ชนิด ข. 5 ชนิด 
 ค. 6 ชนิด ง. 7 ชนิด 
 ตอบ ค. 
19. การจดบันทึกหรือรายงานการประชุม จะกระทำได้กี่วิธี 
 ก. 4 ชนิด ข. 5 ชนิด 
 ค. 6 ชนิด ง. 7 ชนิด 
 ตอบ ข. 
20. หนังสือราชการ คือ 
 ก. หนังสือสั่งราชการ ข. หนังสือที่ประทับตราแทนชื่อ 
 ค. เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ ง. หนังสือที่ลง วัน เวลา ตามแบบสากล 

 ตอบ ค.


_____________________________________________________________________________
จำหน่ายหนังสือเตรียมสอบตำวรวจสายอำนวยการอัพเดทใหม่ล่าสุด
ประกอบด้วยเนื้อหาตามประกาศสอบ

**อ่านเข้าใจง่าย เข้าใจเร็ว ครบ ตรงประเด็น อัดแน่นด้วยคุณภาพ
รวมข้อสอบเก่าเด็ดๆ และข้อสอบที่ออกบ่อยๆ รวบรวมข้อสอบจากรุ่นพี่ที่สอบได้  จากสนามจริง**

สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร: 090-8134236     Line :topsheet1
มี 2 แบบ
-แบบไฟล์ PDF (ส่งทางเมลล์)สามารถนำไปปริ้นอ่านได้เลย ในราคาเพียงชุดละ 399 บาท 
-แบบหนังสือ+MP3 ส่งEMS (ทางไปรษณีย์) เป็นหนังสือ ราคา 799 บาท 

กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 
619-2-17391-2 ธ.กสิกรไทย
สาขา บิ๊กซี พระรามที่ 2 ประเภท ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี กฤษฎาพร เหมวันต์      
       
โอนเงินแล้วแจ้งที่ 
Line ID : topsheet1
E-mail :topsheet1@gmail.com


**ติดตามแนวข้อสอบงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ทุกหน่วยงานเพิ่มที่ http://topsheet1.blogspot.com/
**สั่งซื้อ/โหลดแนวข้อสอบ(ฟรี) :http://www.topsheetonline.com/

______________________________________________________________________________________

1. ข้อดีของ  Flash   memory    คืออะไร
ก. ลบ-บันทึก ได้                                                                      ค. เขียนได้แต่ลบไม่ได้
ข. มีขนาดใหญ่                                                                         ง. เก็บข้อมูลไม่ได้
ตอบ    ก. ลบ-บันทึก ได้
2. การเชื่อมต่อกล้องวิดีทัศน์และฮาร์ดิสใช้ พอร์ตใด
ก. Serial                                                                                     ค.Multimedia 
ข. USB                                                                                      ง. VGA
ตอบ   ข.  USB
3. ข้อใดไม่ใช่การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
ก. WiFi                                                                                      ค. Bluetooth
ข. WLAN                                                                                 ง. LAN
ตอบ   ง. LAN
4. การค้นข้อมูลกูเกิ้ลโดยใส่วงเล็บ ให้ผลอย่างไร
ก. ได้ข้อมูลที่ถูกต้องตามต้องการ
ข. ทำให้การค้นหารวดเร็ว
ค. ได้ข้อมูลมากขึ้นกว่าเดิม
ง. ถูกทั้ง  ก  และ  ข
ตอบ   ง. ถูกทั้ง  ก  และ  ข
5. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับหน่วยความจำหลัก 
ก. เก็บ ข้อมูล และโปรแกรม ที่จะให้ ซีพียู เรียกไป ใช้งานได้ 
ข. สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้  แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
ค. หน่วยความจำหลักจะมีขนาดความจุจำกัด
ง. คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องอาศัยหน่วยความจำหลักเพื่อใช้เก็บข้อมูล
ตอบ    ข.สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้  แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
6. ประเทศไทยถูกเพ่งเล็งจากปัญหาสิทธิมนุษยชนเรื่องใด
ก. การใช้ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และครอบครัว
ข. ปัญหาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ค. การค้ามนุษย์
ง. สถานการณ์ด้านนโยบายทางสังคม
ตอบ    ค. การค้ามนุษย์

7. ข้อใด ไม่ใช่ อาชีพเสรีในอาเซียน
ก. วิศวกร                                                                                    ค. พยาบาล
ข. เภสัชกร                                                                                 ง. การสำรวจ
ตอบ   ข. เภสัชกร
8. คติธรรมคืออะไร
ก. ความซื่อสัตย์                                                                        ค. ความเชื่อ
ข. ความไว้ใจ                                                                             ง. ความเที่ยงตรง
ตอบ   ค.  ความเชื่อ
9. บ้านปลูกริมลำน้ำ  จัดว่าเป็นอะไร
ก. ค่านิยม                                                                                   ค. คติธรรม
ข. วัฒนธรรม                                                                            ง. จารีต
ตอบ   ข. วัฒนธรรม

1.    ผู้บุกรุกเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ของคนอื่น เรียกว่าอะไร
    1.     Networker    2.    Hacker 
    3.    Cracker    4.    Superman
2.    เครื่องที่ทำหน้าที่ให้บริการด้านการสื่อสาร เรียกว่าอะไร
    1.    Communication Server    2.    Server Communication
    3.    File Communication    4.    file server
3.    อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณติดตั้งคั่นกลางระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์และสายโทรศัพท์ 
    เรียกว่า         
    1.    แคช    2.    ปาล์ม
    3.    โมเดล    4.    ซีพียู
4.    leased line  คืออะไร
    1.    สายโทรศัพท์ธรรมดา    2.    สายเคเบิ้ล
    3.    ระบบดาวเทียมสื่อสาร    4.    สายเช่า
5.    TCP/IP เป็นมาตรฐานในการเชื่อมต่อระบบ Internet  คำนี้ย่อมาจากอะไร
    1.    ไม่มีคำย่อเป็นเพียงชื่อเท่านั้น
    2.    Transmission Control Protocal / Internet Protocal
    3.    Top Control Process / Internet Protocal
    4.    Tree Communication Protocal / Integrated Protocal
6.    PROCESS หมายถึงอะไร
    1.    หน่วยความจำสำรอง    
    2.    ระบบปฏิบัติการ
    3.    คำสั่งในโปรแกรมที่ถูกประมวลผลด้วยหน่วยประมวลผลกลาง
    4.    การกระจายอำนาจ
7.    เครือข่าย คืออะไร
    1.    ระบบควบคุมการทำงานของระบบเครือข่าย
    2.    การเชื่อมต่อกันระหว่างอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สื่อสาร
    3.    ระบบส่งข่าวสารภายในเครือข่าย
    4.    เป็นศูนย์กลางของการเก็บแฟ้มข้อมูล

8.    การซื้อสิทธิในการเป็นสมาชิกเพื่อเชื่อมต่อไปยังระบบอินเตอร์เน็ตเรียกว่าเป็นการซื้ออะไร
    1.    Internet    2.    Internet hourse
    3.    cs    4.    Internet Account
9.    Web Server คืออะไร
    1.    ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ในการทำงาน    2.    เป็นส่วนหนึ่งของอินเตอร์เน็ต
    3.    เครื่องคอมพิวเตอร์ที่จัดสร้างข้อมูลข่าวสาร    4.    การค้นหาข้อมูล
10.    Network Address คืออะไร
    1.    ระบบเครือข่าย    2.    ชื่อเครือข่าย
    3.    ที่อยู่เครือข่าย    4.    หมายเลขเครือข่าย
11.    IP Address  คืออะไร
    1.    คือ วิธีกำหนดการทำงาน    2.    คือ วิธีกำหนดชื่อที่อยู่คอมพิวเตอร์
    3.    คือ ระบบคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง    4.    คือ อุปกรณ์ในการทำงาน
12.    Groupware  คืออะไร
    1.    กลุ่มของข้อมูลที่ถูกประมวลผลแล้ว    
    2.    ซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดการกับงานที่มีความหลากหลาย
    3.    กลุ่มของโปรแกรมที่ต้องใช้เป็นประจำ
    4.    โปรแกรมสำเร็จรูปที่อำนวยความสะดวกในสำนักงาน

ถาม – ตอบ เกี่ยวกับระเบียบงานสารบัญ

1. ใครเป็นผู้วางระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526
- คณะรัฐมนตรี
2. ข้อความใดเป็นความหมายของงานสารบรรณตามระเบียบนี้
-การเก็บรักษา , การรับ-การส่ง, การจัดทำ,การยืม,การทำลาย
3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณที่ถือปฏิบัติในขณะนี้เป็นฉบับ พ.ศ.ใด
- พ.ศ. 2526
4. หนังสือราชการ คือ
- เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ
5. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ แบ่งเป็นกี่ประเภท
- 3 ประเภท (ด่วน,ด่วนมาก,ด่วนที่สุด)
6. ส่วนราชการใดมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่กำหนดไว้ในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ให้ขอทำความตกลงกับใคร
- ปลัดสำนักนกยกรัฐมนตรี
7. หนังสือราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ มีกี่ชนิด
- 6 ชนิด
8. หนังสือราชการคือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการมีกี่ประเภท
- 6 ประเภท
9. ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรีคำขึ้นต้นใช้คำว่าอะไร
- เรียน (คำลงท้าย..ขอแสดงความนับถือ)
10. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 ให้ใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด
- วันที่ 24 กันยายน 2548
11. หนังสือที่ติดต่อราชการเป็นแบบพิธีได้แก่หนังสือชนิดใด
- หนังสือภายนอก
12. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ใช้บังคับแล้ว ให้ยกเลิกฉบับใดบ้าง
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2506
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ พ.ศ. 2507
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2516
13. งานสารบรรณมีความหมายตรงกับอะไร
- งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลาย
14. “หนังสือ” ตามระเบียบนี้ หมายความว่าอะไร
- หนังสือราชการ
15. หนังสือประทับตราใช้สำหรับเรื่องใด
- การเตือนเรื่องที่ค้าง
- การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
- การแจ้งผลงานให้ผุ้เกี่ยวข้องทราบ
16. เจ้าของเรื่องจะเก็บหนังสือประเภทใดได้บ้าง
- เจ้าของเรื่องสามารถเก็บหนังสือทั้งที่เป็นต้นฉบับและสำเนาซึ่งเป็นหนังสือที่อยู่ในระหว่างปฏิบัติและหนังสือที่ปฏิบัติการเสร็จแล้วแต่ต้องเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
17. การทำสำเนาในระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ประกอบด้วยอะไรบ้าง
- สำเนาคู่ฉบับ หนังสือราชการเป็นหลักฐานที่สำคัญในราชการระเบียบงานสารบรรณจึงบังคับให้มีสำเนาคู่ฉบับไว้อย่างน้อย 1 ฉบับ
- การทำสำเนา กระทำได้หลายวิธี เช่น ถ่าย อัด คัด เป็นต้น
- เอกสารทางราชการจำเป็นต้องมีสำเนาซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องส่งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบหลายคน
18. ผู้ที่จะทำงานสารบรรณได้ดีจำเป็นต้องรู้งานด้านธุรการในลักษณะใดบ้าง
- มีความรู้ด้านภาษาเป็นอย่างดี
- มีการติดต่อ โต้ตอบและประสานงานที่ดี
- รู้จักกาลเทศะ ความควรไม่ควร
19. หนังสือสั่งการ มีกี่ชนิด
- 3 ชนิด    ได้แก่  คำสั่ง, ระเบียบ, ข้อบังคับ
20. หนังสือประชาสัมพันธ์มีกี่ชนิด
-  3 ชนิด   ได้แก่  ประกาศ, แถลงการณ์, ข่าว
21. หนังสือรับรองรายงานการประชุมและหนังสืออื่นจัดอยู่ในหนังสือชนิดใด
- หนังสือที่เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ
22. การอ้างหนังสือที่มีทั้งชั้นความเร็วและชั้นความลับนั้น ข้อปฏิบัติที่ถูกต้องคือ
- อ้างชั้นความลับก่อนชั้นความเร็ว
23. หนังสือราชการที่จัดทำขึ้นให้มีสำเนาคู่ฉบับไว้อย่างน้อยกี่ฉบับ
- 1 ฉบับ
24. “อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า
- การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอนไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน
- การประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทางแม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่างๆเช่นว่านั้น
25. หนังสือประทับตราคือ
- หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป โดยให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกองหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป เป็นผู้รับผิดชอบลงชื่อย่อกำกับตรา
26. หนังสือประทับตราให้ใช้ได้ทั้งระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการ และระหว่างส่วนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไม่ใช่เรื่องสำคัญ ได้แก่
- การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
- การส่งสำเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร
- การตอบรับทราบที่ไม่เกี่ยวกับราชการสำคัญหรือการเงิน
- การแจ้งผลงานที่ได้ดำเนินการไปแล้วให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบ
- การเตือนเรื่องที่ค้าง
- เรื่องซึ่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไปกำหนด โดยทำเป็นคำสั่ง ให้ใช้หนังสือประทับตรา
27.  ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการเก็บหนังสือสำรวจหนังสือที่มีอายุครบการเก็บในปีนั้น และทำบัญชีหนังสือขอทำลายเสนอหัวหน้าส่วนราชการ ภายในกี่วัน
- 60 วัน หลังจากวันสิ้นปีปฏิทินนั้น
28. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ เป็นหนังสือที่ต้องจัดส่งและดำเนินการทางสารบรรณด้วยความรวดเร็วเป็นพิเศษ แบ่งเป็นกี่ประเภท  อะไรบ้าง
-  3 ประเภท ได้แก่  - ด่วนที่สุด (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติในทันทีที่ได้รับหนังสือนั้น)
                                             - ด่วนมาก (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็ว
                                             - ด่วน (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติ เท่าที่จะทำได้)
29. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ ต้องระบุชั้นความเร็ว และขนาดตัวอักษร อย่างไร
- ให้ระบุชั้นความเร็วด้วยตัวอักษรสีแดง ขนาดไม่เล็กกว่าตัวพิมพ์โป้ง 32 พอยท์ ให้เห็นได้ชัดบนหนังสือและบนซอง
30. กรณีต้องการให้หนังสือส่งถึงผู้รับภายในเวลาที่กำหนด ควรระบุอะไรบ้าง
- ระบุคำว่า “ด่วนภายใน” แล้วลง วัน เดือน ปี และกำหนดเวลาที่ต้องการให้หนังสือนั้นไปถึงผู้รับ กับให้เจ้าหน้าที่ส่งถึงผู้รับซึ่งระบุบนหน้าซองภายในเวลาที่กำหนด
31. “ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า
- การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
32. หนังสือที่ใช้ติดต่อราชการระหว่างส่วนราชการหรือส่วนราชการกับบุคคลภายนอกคือหนังสือใด
- หนือสือภายนอก
-หนังสือประทับตรา

1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ  ฉบับปัจจุบันเป็นฉบับ  พ.ศ.ใด
ก.   พ.ศ.  2526                                                          ข.   พ.ศ.  2527
ค.   พ.ศ.  2528                                                          ง.   พ.ศ.  2529
ตอบ  ก.    พ.ศ.  2526 
ว่าด้วยงานสารบรรณ  พ.ศ.  2526
2. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี  ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม  เป็นฉบับที่เท่าไร 
ก.   ฉบับที่  2  , พ.ศ.  2545                                    ข.   ฉบับที่  2  , พ.ศ.  2548
ค.   ฉบับที่  3  , พ.ศ.  2545                                    ง.   ฉบับที่  3  , พ.ศ.  2548
ตอบ  ข.    ฉบับที่  2  , พ.ศ.  2548
ระเบียบสำนักนายยกรัฐมนตรี  ว่าด้วยงานสารบรรณ  (ฉบับที่  2 )  พ.ศ.  2548
3. เหตุผลที่มีการแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ  พ.ศ.  2526
ก. เพื่อให้เหมาะสมกับภาวการณ์ปัจจุบัน
ข. เพื่อให้สอดคล้องกับการบริหารราชการแนวใหม่
ค. เพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ   ง.    ถูกทุกข้อ
                     โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสำนักนายยกรัฐมนตรี  ว่าด้วยงานสารบรรณ  พ.ศ.  2526  เพื่อให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ในปัจจุบันที่มีการปฏิบัติงานที่มีการปฏิบัติงานสารบรรณด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์และเป็นการสอดคล้องกับการบริหารราชการแนวใหม่ที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์  ความคุ้มค่า  และการลด
                      ขั้นตอนการปฏิบัติงาน  สมควรวางระบบงานสารบรรณให้เป็นการดำเนินงานที่มีระบบ  มีความรวดเร็วมีประสิทธิภาพ  และลดความซ้ำซ้อน  ในการปฏิบัติราชการ
4. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี  ว่าด้วยงานสรรบรรณ  (ฉบับที่  2 )  พ.ศ.  2548  อาศัยอำนาจกฎหมายใดในการประกาศใช้
ก. มาตรา  11(8)  แห่งพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน  พ.ศ.  2535
ข. มาตรา  11(6)  แห่งพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน  พ.ศ.  2535
ค. มาตรา  11(8)  แห่งพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน  พ.ศ.  2538
ง. มาตรา  11(6)  แห่งพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน  พ.ศ.  2538
ตอบ   ก.   มาตรา  11(8)  แห่งพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน  พ.ศ.  2535
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา  11(8)  แห่งพระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน  พ.ศ.  2534  นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีจึงวางระเบียบไว้
5. ระเบียบสำนักนายยกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ  ถูกประกาศใช้โดยความเห็นชอบของผู้ใด
ก.   รัฐมนตรี                                                              ข.   คณะรัฐมนตรี
ค.   วุฒิสภา                                                                 ง.   สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ตอบ  ข.    คณะรัฐมนตรี
                       คำอธิบายดังข้อข้างต้น
6. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ  (ฉบับที่  2)  พ.ศ.  2548  มีผลบังคับใช้เมื่อใด
ก. นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ข. นับแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ค. 3  วันหลังจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. 7  วัน  หลังจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ตอบ   ข.   นับแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
7. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี  ว่าด้วยงานสารบรรณ  ฉบับนี้ใช้บังคับแก่หน่วยงานใด
ก.   เอกชน                                                                  ข.   รัฐวิสาหกิจ
ค.   ส่วนราชการ                                                        ง.   ถูกทุกข้อ
ตอบ  ค.    ส่วนราชการ
ระเบียบ ฯ  ข้อ  4  ระเบียบนี้ให้บังคับแก่ส่วนราชการส่วนราชการใดมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือจากที่ได้กำหนดไว้  ในระเบียบนี้ให้ขอทำความตกลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้
8. “งานสารบรรณ”  หมายถึง
ก. งานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานเอกสาร
ข. งานที่เกี่ยวข้องกับหนังสือธุรการ
ค. งานที่เกี่ยวข้องกับการติดต่อสื่อสาร
ง. งานที่เกี่ยวข้องกับการนำเสนอ
ตอบ   ก.   งานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานเอกสาร
ระเบียบ ฯ  ข้อ  6  ในระเบียบนี้
“งานสารบรรณ”  หมายความว่า  งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร  เริ่มตั้งแต่การจัดทำ  การรับ  การส่ง  การเก็บรักษา  การยืม  จนถึงการทำลาย
“หนังสือ”  หมายความว่า  หนังสือราชการ
“ส่วนราชการ”  หมายความว่า  กระทรวง  ทบวง  กรม  สำนักงาน  หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐ  ทั้งในราชการบริหารส่วนกลาง  ราชการบริหารส่วนภูมิภาค  ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น  หรือในต่างประเทศและให้หมายความรวมถึงคณะกรรมการด้วย
9. “ส่วนราชการ”  หมายถึงหน่วยงานใด
ก. กระทรวง  ทบวง  กรม                                    ข.   หน่วยงานอื่นๆใดของรัฐ
ค.   ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น                             ง.   ถูกทุกข้อ
ตอบ  ง.    ถูกทุกข้อ
                 คำอธิบายดังข้อข้างต้น
10. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของคำว่า  “อิเล็กทรอนิกส์”
ก. การประยุกต์ใช้ทางอิเล็กตรอน
ข. การประยุกต์ใช้ทางไฟฟ้า
ค. การประยุกต์ใช้ทางคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ง. ไม่มีข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ตอบ   ง. ไม่มีข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
          “อิเล็กทรอนิกส์”  หมายความว่า  การประยุกต์ใช่วิธีการทางอิเล็กตรอน  ไฟฟ้า  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน  และให้ความหมายรวมถึงการประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง  วิธีการทางแม่เหล็ก  หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่างๆ เช่นว่านั้น
11. การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นความหมายถึงสิ่งใด
ก. ระเบียบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ข. ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ค. การสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์
ง. การสื่อสารทางไกล
ตอบ   ข.   ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
  “ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์”  หมายความว่า  การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์””













ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น